วันพุธที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2557

กุรข่า Khukuri Knife

ตำนานนักล่าแห่งขุนเขา ผู้ไม่เคยไว้ชีวิตใครเลย ฆ่าด้วยมีด
KhuKuri  knife


ทหารกรุข่า ทหารที่โหดเเละเก่งที่สุดในโลก
 หนึ่งในทหารที่ชื่อเสียงดีที่สุดของโลก คือทหารกุรข่าของเนปาล ที่ขึ้นชื่อเรื่องความอดทนและซื๋อสัตย์ ตลอด 200 ปีที่ผ่านมา มีแต่ทหารกุรข่าชายแต่ล่าสุด กำลังจะมีทหารกุรข่าหญิงแล้ว

คำที่ชาว โลกรู้กันดี คือ

"กรุข่าไม่เคยไว้ชีวิตเชลยในสนามรบแม้แต่คนเดียว จะฆ่าโดยการปาดคอ และ ตัดคอในที่สุด"

Khukri Blade
1.  Belly (Bhundi): Widest part/area of the blade.
2.  Bevel (Patti): Slope from the main body until the sharp edge.
3.  Bolster (Kanjo): Thick metal/brass round shaped plate between blade and handle made to support and reinforce the fixture.
4.  Butt Cap (Chapri): Thick metal/brass plate used to secure the handle to the tang.
5.  Cho/Notch (Kaudi): A distintive cut (numeric 3 like shape) in the edge functioned as a blood dropper and others.
6.  Edge (Dhaar): Sharp edge of the blade.
7.  Fuller (Chirra): Curvature/Hump in the blade made to absorb impact and to reduce unnecessary weight.
8.  Fuller/Groove (Khol): Straight groove or deep line that runs along part of the upper spine.
9.  Keeper (Hira Jornu): Spade/Diamond shaped metal/brass plate used to seal the butt cap.
10.  Main body (Ang): Main surface or panel of the blade.
11.  Peak (Juro): Highest point of the blade.
12.  Ricasso (Ghari): Blunt area between notch and bolster.
13.  Rings (Harhari): Round circles in the handle.
14.  Rivet (Khil): Steel or metal bolt to fasten or secure tang to the handle.
15.  Spine (Beet): Thickest blunt edge of the blade.
16.  Tang (Paro): Rear piece of the blade that goes through the handle
17.  Tang Tail (Puchchar): Last point of the khukuri blade.
18.  Tip (Toppa): Starting point of the blade.

Khukri Scabbard
1.  Chape (Khothi): Pointed mettalic tip of the scabbard.  Used to protect the naked tip of a scabbard.
2.  Frog (Faras): Belt holder especially made of thick leather (2mm to 4mm) encircling the scabbard close towards the throat.
3.  Lace (Tuna): A leather cord used to sew or attach two ends of the frog.  Especially used in army types (not available in this pic).
4.  Loop (Golie): Round leather room/space where a belt goes through attached/fixed to the keeper with steel rivets.
5.  Lower Edge (Tallo Bhag): Belly/curvature of the scabbard.
6.  Main Body (Sharir): The main body or surface of the scabbard.  Generally made in semi oval shape.
7.  Strap/Ridge (Bhunti): Thick raw leather encirlcing the scabbard made to create a hump to secure the frog from moving or wobbling (not available in this pic).
8.  Throat (Mauri): Entrance towards the interior of the scabbard for the blade.
9.  Upper Edge (Mathillo Bhaag): Spine of the scabbard where holding should be done when handling a Khukuri. 


Cho - also called a kauri or kaura. a small notch in blade near handle.
"It has various meanings according to various people. A few are: the clitoris of Kali, the penis of Shiva, Surya ra Chandra (sun and moon, symbols of Nepal), a "Kowdi" ('cow-track' because the cow is sacred to the Hindus), a blood drip, a substitute guard, and on and on and on. Take your pick. The true meaning has been lost in time so today it is anybody's guess". -Bill Martino






 ผู้หญิงเนปาลมากกว่า 600 คน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นอดีตสมาชิกกองโจรติดอาวุธของกบฏนิยมเหมา ซึ่งเมื่อเร็วๆนี้ได้ถูกกดดันให้วางอาวุธในกระบวนการสร้างสันติภาพกับรัฐบาล กำลังเข้าร่วมฝึกเข้มที่ค่ายฝึกทหารหลักของทหารกุรข่าแถบสถานตากอากาศ"โพคารา"ในเทือกเขาหิมาลัย




 พวกเธอหวังจะผ่านการสอบคัดเลือกอันเข้มงวดในฤดูร้อนปีนี้ เพื่อเข้าเป็นทหารในกองทัพอังกฤษ เพราะในช่วงสองสามเดือนข้างนี้ กองทัพอังกฤษจะจะมีการรับผู้หญิงเนปาล 50 คนเข้าเป็นทหารภายใต้โครงการนำร่อง ซึ่งมีขึ้นหลังจากกระทรวงกลาโหมอังกฤษ เปลี่ยนกฏหมายเกณฑ์ทหาร ให้สอดคล้องกับการไม่เลือกปฏิบัติทางเพศ

 ผู้หญิงที่ได้รับเลือกไม่เพียงต้องสติปัญญาดี ร่างกายต้องฟิตด้วย เพราะในการประเมินผลซึ่งใช้เวลานาน 3 สัปดาห์ ผู้สมัครหญิงจะต้องผ่านการฝึกคัดเลือกที่โหดหินที่สุดแห่งหนึ่งของโลก รวมทั้งต้องวิ่งขึ้นภูเขาหิมาลัยเป็นระยะทาง 5 กิโลเมตร โดยแบกหินหนัก 35 กิโลกรัมไว้บนหลัง..หลายคนบ่นว่าแค่หอบสังขาร วิ่งขึ้นภูเขาไกล 5 กิโลเมตรก็แทบตายแล้ว นี่ยังต้องแบกหินขึ้นไปด้วยอีกต่างหาก

สาววัย 19 ปีคนหนึ่งบอกว่า สาเหตุหลักที่อยากเข้ากองทัพอังกฤษคือเงินเดือน  เพราะชาวเนปาลทั่วไปมีรายได้เฉลี่ยแค่ 1 ดอลลาร์ หรือ 35 บาทต่อวัน แต่ถ้าเธอได้เป็นทหารอังกฤษ เธอจะได้เงินมากกว่าเดิมถึง 20 เท่า เธอมองว่าในที่สุดผู้หญิงก็ได้โอกาสเท่าเทียมผู้ชาย นับเป็นช่วงประวัติศาสตร์สำหรับผู้หญิงเลยทีเดียว

 กระทรวงกลาโหมอังกฤษว่าจ้างทหารกุรข่าปีละ 230 นาย และปัจจุบันมีทหารกุรข่าชาย 3,500 นายอยู่ในกองทัพอังกฤษ ซึ่งส่วนหนึ่งปฏิบัติภารกิจอยู่ที่อิรักและอาฟกานิสถาน ขณะที่ในช่วงสงครามโลกทั้ง  2 ครั้ง มีทหาร    กุรข่าพลีชีพ 43,000 นาย และมี 26 นายได้เหรียญกล้าหาญวิคตอเรีย   ครอส ซึ่งเป็นเหรียญกล้าหาญชั้นสูงสุดของอังกฤษ มากกว่าทหารหน่วยอื่นๆของอังกฤษทั้งหมด เพราะพวกเขาถือคติว่า" ตายดีกว่าอยู่อย่างขี้ขลาด" ...ข้าน้อยขอคารวะ

 นักรบกรุข่าเคยรบกับอังกฤษ เเต่อังกฤษเอาชนะไม่ได้ เลยกลอมเอามาเป็นพวกเเทน เเล้วก็ได้ผล อังกฤษนิยมใช้พวกกรุข่าไปรบในเเดนอันตรายๆ เพราะพวกกรุข่าใจถึง ยอมตายดีกว่าเเพ้เพราะถือว่าเสียเกียรติ์ เเละมีเรื่องเล่าขำๆเกี่ยวกับสงครามเกาะฟอกเเลนด์(อังกฤษรบกับอาเจติน่า) ว่าตอนเเรกทหารอาเจนติน่าไม่ยอมเเพ้ พออังกฤษส่งทหารกรุข่าไป ทหารอาเจนติน่ารีบยอมเเพ้กับทหารอังกฤษกันเป็นเเถว เพราะพวกกรุข่ามีชื่อเสียงว่ารบเก่ง ไม่นิยมจับเฉลย ถ้าถูกจับได้จะต้องถูกตัดคอทุกคน(เป็นธรรมเนียมของกรุข่า)

  • หลักการใช้มีดกุรข่า จะใช้มี 2 วิธี  

1.ควรจับมีดให้ร่นมือมาสุดตรงปลายด้ามมีด นิ้วชี้วางกระชับตรงร่องเก็บเลือด ไม่ควรจับให้ล้ำไปทางด้านหน้าเพราะปลายด้ามจะงัดข้อมือเจ็บ.

2.เวลาฟัน ต้องระวังปลายมีดแว้งมาโดนขาหรือหัวเข่า เวลาฟัน ไม้ให้ขาด ควรวางระยะฟันปรับเฉียงนิ๊ด  ควรวางปลายเท้าให้เหมาะกับต้นไม้ที่เราจะฟัน ถ้ามีต้นไม่ที่เราจะตัดอยู่ตรงหน้า ถ้าถนัดขวาให้วางเท้าซ้ายตรงกับต้นไม้ครับ เวลาฟันแล้วมีดจะไม่แว้งมามาโดนขาหรือเข่าของเรา 

มีดที่ดีแค่ไหนถ้าเราไม่คุ้นเคยกับน้ำหนักของมัน พอใช้งานจริงๆ มีโอกาสพลาดได้ครับ
 ผู้หญิงที่ได้รับเลือกไม่เพียงต้องสติปัญญาดี ร่างกายต้องฟิตด้วย เพราะในการประเมินผลซึ่งใช้เวลานาน 3 สัปดาห์ ผู้สมัครหญิงจะต้องผ่านการฝึกคัดเลือกที่โหดหินที่สุดแห่งหนึ่งของโลก คือดึงข้อบาร์เดี่ยว (high beam) 14 ครั้ง , กระโดดขึ้นลงม้านั่ง (bench jump) 75 ครั้งใน 1 นาที, ซิท-อัพ (sit-ups) 70 ครั้งใน 2 นาที อุดฟันไม่เกิน 2 ซี่ และมีฟันห่างหรือฟันหลอไม่เกิน 2 ตำแหน่ง ผ่านการทดสอบการมองเห็น-การได้ยิน สื่อสารภาษาอังกฤษคล่องและต้องทำข้อสอบภาษาอังกฤษและคณิตศาสตร์ที่แสนยาก  รวมทั้งต้องวิ่งขึ้นภูเขาหิมาลัยเป็นระยะทาง3ไมล์( 4.8 กิโลเมตร) โดยแบกหินหนัก 22.7กิโลกรัมไว้บนหลัง หลายคนบ่นว่าแค่หอบสังขารวิ่งขึ้นภูเขาไกล 5 กม.ก็แทบตายแล้วนี่ยังต้องแบกหินขึ้นไปด้วยอีกต่างหาก

สาววัย 19 ปีคนหนึ่งบอกว่า สาเหตุหลักที่อยากเข้ากองทัพอังกฤษคือเงินเดือน  เพราะชาวเนปาลทั่วไปมีรายได้เฉลี่ยแค่ 1 ดอลลาร์ หรือ 35 บาทต่อวัน แต่ถ้าเธอได้เป็นทหารอังกฤษ เธอจะได้เงินมากกว่าเดิมถึง 20 เท่า เธอมองว่าในที่สุดผู้หญิงก็ได้โอกาสเท่าเทียมผู้ชาย นับเป็นช่วงประวัติศาสตร์สำหรับผู้หญิงเลยทีเดียว ผู้ผ่านการคัดเลือกจะได้เงินเดือนขั้นต้น1,000 ปอนด์ (ประมาณ53,000 บาท) ซึ่งมีการประกันว่า จะไม่ตกงาน 15 ปีพร้อมการเลื่อนขั้น ได้บำนาญ และที่สำคัญที่สุดคือ ได้พาสส์ปอร์ตเป็นคนอังกฤษ ทหารกูรข่าผู้หญิงจะได้รับการทำงานในหน่วยวิศวกรรม สื่อสาร และส่งกำลังบำรุง ไม่ต้องเป็นพลปืน

 ทีนี้ทำไมทหารกูรข่าจึงกล้าหาญมากๆ นพ.วัลลภ พรเรืองวงศ์ ผู้เขียนบทความได้ให้ความเห็นว่า เรื่องนี้คล้ายทหารสวิสซึ่งเป็นนักรบรับจ้างมาก่อนเช่นกัน กลไกที่เป็นไปได้คือ
(1) ชาติที่เป็นคนภูเขามีแนวโน้มจะรบเก่ง เมื่ออังกฤษยึดพม่าได้ก็จ้างกะเหรี่ยงเป็นนักรบคล้ายๆ กัน แต่ไม่เหมือนกันกัน เพราะเป็นการจ้างเฉพาะที่ ไม่ได้ใช้รบไปทั่วโลกนาน 200 ปีแบบกูรข่า
(2) คนกูรข่ามีธรรมเนียมว่า "ตายเสียดีกว่าขี้ขลาด" ปลูกฝังมาแบบนี้หลายๆ ชั่วอายุคน ทำให้เกิดโปรแกรมฝังลึกทางวัฒนธรรมประเภท "ต้องรบ หรือไม่ก็ตาย ขายหน้าไม่ได้" และโดยปกติจะไม่ไว้ชีวิตเชลยจะสังหารด้วยการตัดคอ
(3) ประวัติที่ไม่เคยตกเป็นเมืองขึ้นอังกฤษ แม้จะรบแพ้ในAnglo-Nepalese(1814-1816)แต่ก็จบลงด้วยการทำสนธิสัญญา Sugauli(สูญเสียดินแดนไปบางส่วนแต่ก็รักษาเอกราชไว้ได้)และอังกฤษยอมรับในฝีมือจนจ้างมาเป็นทหาร ทำให้ชาวกูรข่าภาคภูมิใจ
 (4) ผลตอบแทนที่ได้คุ้มค่า ไม่ว่าจะเป็นชื่อเสียงเกียรติยศ รายได้ โอกาสในชีวิตอีกมากมาย เช่น มีโอกาสขอสัญชาติอังกฤษได้ในอนาคต ฯลฯ ผลตอบแทนนี้แรงมากเมื่อเทียบกับการอยู่ในเนปาล ซึ่งหางานทำยากมากๆ
(5) การที่กองทหารกูรข่ามาจากคนชาติพันธุ์เดียวกัน ทำให้ต้องรบเต็มที่ เพราะมีส่วนทำให้คนอื่นที่เป็นชาติพันธุ์เดียวกันรอดตาย หรือคนรุ่นต่อไปมีโอกาสหารายได้จากกองทัพอังกฤษ หรือประเทศอื่นๆ ต่อไป
(6) เดิมเนปาลมีวรรณะ สูงสุดคือพราหมณ์ รองลงไปคือกษัตริย์ โดยเฉพาะถ้าบรรพบุรุษเป็นวรรณะกษัตริย์ = นักรบแล้ว การได้เป็นทหารถือว่า มีเกียรติสมกับที่เป็นคนจากวรรณะกษัตริย์ หรือถ้ามาจากวรรณะต่ำกว่าก็เท่ากับได้เลื่อนชั้นวรรณะ โดยสมเด็จพระราชินีอังกฤษทีเดียว

 รายได้เฉลี่ยต่อหัวในเนปาลอยู่ที่ 873ปอนด์/ปี = 60,495บาท/ปี = 5,041 บาท/เดือน (ข้อมูลปี2555อ้างอิงจากhttp://www.dtn.go.th/ ) เงินเดือนทหารอังกฤษเริ่มต้นที่ 17,000 ปอนด์/ปี (อ้างอิงจากhttp://www.armedforces.co.uk/armypayscales.htm)
 =791,097บาท/ปี =65,924.75บาท/เดือน ซึ่งมากกว่ารายได้ชั้นดีในเนปาลประมาณ13เท่า

 อาจารย์กฤษณะ กุมาร์ ปัน ทหารผ่านศึกกุรข่า เจ้าของโรงเรียนติวสอบกูรข่าในกาฏมัณฑุให้สัมภาษณ์ว่า เงินบำนาญที่ได้ (น้อยกว่าทหารอังกฤษอย่างน้อย 6 เท่า) จริงๆ แล้วก็ไม่ค่อยพอใช้ เนื่องจากบำนาญไม่ได้ปรับตามภาวะเงินเฟ้อ   นอกจากนั้นเรื่องสำคัญคือ อะไรๆ ในอังกฤษก็ฟรี ตั้งแต่ค่าเล่าเรียนฟรี ค่ารักษาพยาบาลไม่แพง (เป็นระบบร่วมจ่าย คือ รัฐบาลจ่ายส่วนหนึ่ง คนไข้จ่ายส่วนหนึ่งสมทบกัน)




2 ความคิดเห็น: